ก. การหาเส้นทางในการส่งผ่านข้อมูลที่ดีที่สุด
ข. การอ้างอิงไอพีแอดเดรสระหว่างเครื่องลูกข่ายที่อยู่กันคนละเครือข่าย
ค. เป็นตัวกลางในการส่งต่อข้อมูลไปยังเครือข่ายอื่น
หน้าที่หลักของ Router ได้แก่ การอ้างอิงไอพีแอดเดรสระหว่างเครื่องลูกข่ายที่อยู่กันคนละเครือข่าย รวมทั้งการเลือกและจัดเส้นทางที่ดีที่สุด เพื่อนำข้อมูลข่าวสาร ในรูปแบบของแพ็กเกจจากเครื่องลูกข่ายต้นทางบนเครือข่ายที่ตนดูแลอยู่ไปยังเครื่องลูกข่ายที่อยู่กันคนละเครือข่าย
หน้าที่หลักของ Router คือการหาเส้นทางในการส่งผ่านข้อมูลที่ดีที่สุด และเป็นตัวกลางในการส่งต่อข้อมูลไปยังเครือข่ายอื่น
2. รูปแบบลักษณะการเชื่อมต่อของ Router ผ่าน WAN มีอยู่กี่รูปแบบ
ก. 3
ข. 5
ค. 7
ง. 9
1. แบบ Point To Point หรือระหว่างจุด
2. แบบ Hub and Spoke (รูปแบบ Star)
3. แบบ Serial Bus
4. แบบ Loop ปิด
5. แบบ Mesh ซึ่งประกอบด้วย Semi หรือ Partial Mesh และ Fully Mesh
6. แบบผสม หรือ Hybrid
7. แบบ ระดับขั้น (Hierarchical)
ก. แบบ Hub and Spoke
ข. แบบ Loop ปิด
ค. แบบ Serial Bus
ง. แบบ Point To Point หรือระหว่างจุด
แบบ Point To Point
เป็นรูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายที่เรียบง่ายที่สุด โดยท่านอาจมี 2 เครือข่าย เช่น เครือข่ายบริษัทแม่ และสาขา มาเชื่อมต่อกัน เป็นต้น
ที่มา : http://hospital.moph.go.th/sapphaya/DownLoad/Download/เปิดโลกเครือข่าย%20CISCO%20ตอนหลักการทำงานและติดตั้ง%20Router%20ภายใต้%20Routing%20Protocol.htm หัวข้อ แบบ Point To Point บรรทัดที่ 1
4. การเชื่อมต่อแบบ Loop ปิด มีลักษณะอย่างไร
ก. เป็นการเชื่อมต่อที่มีด้านปลายด้านใดด้านหนึ่งเชื่อมต่อกับปลายของอีกด้านหนึ่ง
ข. เป็นรูปแบบการเชื่อมต่อที่เน้นจำนวนของช่องสัญญาณการเชื่อมต่อระหว่างกันหลายช่องทาง
ค. เหมาะสำหรับการเชื่อมต่อระหว่าง Router ที่อยู่ห่างไกลกันมาก
ง. เหมาะสำหรับท่านที่มีเครือข่ายมากกว่า 2 เครือข่ายขึ้นไป
เฉลย ก. เป็นการเชื่อมต่อที่มีด้านปลายด้านใดด้านหนึ่งเชื่อมต่อกับปลายของอีกด้านหนึ่ง
การเชื่อมต่อแบบ Loop ปิด
- เป็นการเชื่อมต่อที่มีด้านปลายด้านใดด้านหนึ่งเชื่อมต่อกับปลายของอีกด้านหนึ่ง ข้อดีของการเชื่อมต่อแบบนี้อยู่ที่การมี Redundant หากเส้นทางการเชื่อมต่อจุดใดจุดหนึ่งเกิดขาดก็ยังสามารถเชื่อมต่ออันได้โดยอัตโนมัติ นอกจากนี้ท่านยังสามารถเลือกใช้โปรโตคอลเลือกเส้นทางอีกด้วย อย่างไรก็ดีการใช้ โปรโตคอลที่มีประสิทธิภาพด้อย อาจทำให้เกิดปัญหาที่เรียกว่า Routing Loop
ที่มา : http://hospital.moph.go.th/sapphaya/DownLoad/Download/เปิดโลกเครือข่าย%20CISCO%20ตอนหลักการทำงานและติดตั้ง%20Router%20ภายใต้%20Routing%20Protocol.htm หัวข้อ การเชื่อมต่อแบบ Loop ปิด บรรทัดที่ 1
5. Interior Domain Routing Protocol สามารถแบ่งออกได้เป็นกี่ประเภท
ก. 2
ข. 4
ค. 6
ง. 8
Interior Domain Routing Protocol
สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้
- Distance Vector ซึ่งเป็น Routing Protocol ที่อาศัยหลักเกณฑ์ในเรื่องระยะทางเป็นตัวกำหนด
- Link State ซึ่งอาศัยสถานะ การเชื่อมต่อเป็นตัวกำหนด
ที่มา : http://hospital.moph.go.th/sapphaya/DownLoad/Download/เปิดโลกเครือข่าย%20CISCO%20ตอนหลักการทำงานและติดตั้ง%20Router%20ภายใต้%20Routing%20Protocol.htm หัวข้อโปรโตคอลเลือกเส้นทางคืออะไร ? ย่อหน้าที่ 4 บรรทัดที่ 1
6. โปรโตคอลเลือกเส้นทางสามารถแบ่งออกได้เป็นกี่ระดับชั้น (Class) ใหญ่
ก. 2
ข. 5
ค. 7
ง. 9
เฉลย ก. 2
โปรโตคอลเลือกเส้นทาง สามารถแบ่งออกเป็นระดับชั้น (Class) ใหญ่ ได้ 2 แบบ ดังนี้
- ระดับขั้น Interior Domain หรือ Intra-Domain Routing Protocol
- ระดับขั้น Exterior หรือ Inter Domain Gateway Routing Protocol
ที่มา : http://hospital.moph.go.th/sapphaya/DownLoad/Download/เปิดโลกเครือข่าย%20CISCO%20ตอนหลักการทำงานและติดตั้ง%20Router%20ภายใต้%20Routing%20Protocol.htm หัวข้อโปรโตคอลเลือกเส้นทางคืออะไร ? ย่อหน้าที่ 3 บรรทัดที่ 1
ก. สามารถเชื่อมต่อกับ Core Router อื่นๆ ผ่านทาง ATM ก็ได้
ข. มีบัฟเฟอร์เป็นจำนวนมากเพื่อใช้เก็บตารางเส้นทาง (Routing Table) ขนาด
ค. เป็น Router แบบ Multi-Layer Multi-protocol
ง. ข้อ ก และ ค กล่าวถูกต้อง
เฉลย ง. ข้อ ก และ ค กล่าวถูกต้อง
ระดับชั้น Core
- Core Router มีลักษณะที่โดดเด่นกว่า Router ในระดับอื่นๆ ตรงที่ เป็น Router แบบ Multi-Layer Multi-protocol ที่สามารถสนับสนุน การเชื่อมต่อรูปแบบต่างๆ ได้มากมาย สามารถเชื่อมต่อกับ Core Router อื่นๆ ผ่านทาง ATM ก็ได้ Router ระดับ Core นี้บางครั้งถูกเรียกว่า Back Bone Router เป็น Router ที่เชื่อมต่อกับกลุ่มของ Distributed Router จำนวนหนึ่ง
ที่มา : http://hospital.moph.go.th/sapphaya/DownLoad/Download/เปิดโลกเครือข่าย%20CISCO%20ตอนหลักการทำงานและติดตั้ง%20Router%20ภายใต้%20Routing%20Protocol.htm หัวข้อการเชื่อมต่อแบบลำดับขั้น (Hierarchical) ย่อหน้าที่ 4 บรรทัดที่ 1
8. ระดับชั้น Distributor ซึ่ง Router ในระดับนี้มักเป็น Router ขนาดใด
ก. ขนาดเล็ก
ข. ขนาดกลาง
ค. ขนาดใหญ่
ง. ขนาดใหญ่ที่สุด
ระดับชั้น Distributor
- Router ในระดับนี้ มักเป็น Router ขนาดกลาง ที่อาจมีพอร์ตที่เชื่อมต่อกับ Router ในระดับ Access มากกว่า 4 พอร์ตขึ้นไป Router ในระดับนี้ บางรุ่น อาจมี Port เชื่อมต่อกับ WAN มากถึง 16 พอร์ต หรืออาจมีมากกว่านั้น ที่สำคัญ Router จะต้องมีซีพียูความเร็วสูง โดยอาจมีความเร็วเกินกว่า 120 MHz ขึ้นไป รวมทั้งมีบัฟเฟอร์เป็นจำนวนมากเพื่อใช้เก็บตารางเส้นทาง (Routing Table) ขนาด
ที่มา : http://hospital.moph.go.th/sapphaya/DownLoad/Download/เปิดโลกเครือข่าย%20CISCO%20ตอนหลักการทำงานและติดตั้ง%20Router%20ภายใต้%20Routing%20Protocol.htm หัวข้อการเชื่อมต่อแบบลำดับขั้น (Hierarchical) ย่อหน้าที่ 3 บรรทัดที่ 1
9. ถ้าหากว่าเราใช้ Router ที่ทำจากเซิร์ฟเวอร์และใช้การ์ดแลนแบบ 100Base-FX ซึ่งใช้สาย Fiber Optic แบบ 2 Core (2 Strand) ขนาด 62.5/125 ความยาวคลื่นขนาด 850 nm เราจะสามารถเชื่อมต่อได้ระยะทางกี่เมตรและต่อกี่ด้าน
ก. 402 เมตร ต่อ 1 ด้าน
ข. 412 เมตร ต่อ 1 ด้าน
ค. 422 เมตร ต่อ 2 ด้าน
ง. 432 เมตร ต่อ 2 ด้าน
เฉลย ข. 412 เมตร ต่อ 1 ด้าน
- ในกรณีที่ท่านใช้ Router ที่ทำจากเซิร์ฟเวอร์และใช้การ์ดแลนแบบ 100Base-FX ซึ่งใช้สาย Fiber Optic แบบ 2 Core (2 Strand) ขนาด 62.5/125 ความยาวคลื่นขนาด 850 nm ท่านสามารถเชื่อมต่อได้ระยะทาง 412 เมตร ต่อ 1 ด้าน
ที่มา : http://hospital.moph.go.th/sapphaya/DownLoad/Download/เปิดโลกเครือข่าย%20CISCO%20ตอนหลักการทำงานและติดตั้ง%20Router%20ภายใต้%20Routing%20Protocol.htm หัวข้อประเภทของสื่อสัญญาณที่ใช้ บรรทัดที่ 1
10. Router ที่ทำจาก Server เหมาะสำหรับ ปริมาณของข้อมูลข่าวสารที่วิ่งข้ามไปมาระหว่างเครือข่าย จะต้องมีไม่เกินกี่ % เท่านั้นและโดยที่การสื่อสารที่เกิดขึ้นทั้งหมดกี่ % เป็นของภายในเครือข่าย
ก. ปริมาณของข้อมูลข่าวสารที่วิ่งข้ามไปมาระหว่างเครือข่าย จะต้องมีไม่เกิน 20% เท่านั้น โดยที่การสื่อสารที่เกิดขึ้น 80% เป็นของภายในเครือข่าย
ข. ปริมาณของข้อมูลข่าวสารที่วิ่งข้ามไปมาระหว่างเครือข่าย จะต้องมีไม่เกิน 20% เท่านั้น โดยที่การสื่อสารที่เกิดขึ้น 90% เป็นของภายในเครือข่าย
ง. ปริมาณของข้อมูลข่าวสารที่วิ่งข้ามไปมาระหว่างเครือข่าย จะต้องมีไม่เกิน 30% เท่านั้น โดยที่การสื่อสารที่เกิดขึ้น 90% เป็นของภายในเครือข่าย
เฉลย ก. ปริมาณของข้อมูลข่าวสารที่วิ่งข้ามไปมาระหว่างเครือข่าย จะต้องมีไม่เกิน 20% เท่านั้น โดยที่การสื่อสารที่เกิดขึ้น 80% เป็นของภายในเครือข่าย
- ข้อแตกต่างประการหนึ่งระหว่าง Layer 3 Switches กับ Router ที่ทำจาก Server ที่เห็นได้อย่างชัดเจนคือ Router ที่ทำจาก Server เหมาะสำหรับ ปริมาณของข้อมูลข่าวสารที่วิ่งข้ามไปมาระหว่างเครือข่าย จะต้องมีไม่เกิน 20% เท่านั้น โดยที่การสื่อสารที่เกิดขึ้น 80% เป็นของภายในเครือข่าย แต่สำหรับ Switches แบบ Layer 3 เหมาะสำหรับ การสื่อสารข้อมูลที่วิ่งข้ามไปมาระหว่างเครือข่าย 80% อีก 20% เป็นการสื่อสารภายใน รวมทั้ง สนับสนุนการสื่อสารแบบ 80% เป็นภายในเครือข่าย และ 20% แบบออกนอกเครือข่าย เช่นเดียวกับ Router ที่ทำจาก Server ได้อีกด้วย
ที่มา : http://hospital.moph.go.th/sapphaya/DownLoad/Download/เปิดโลกเครือข่าย%20CISCO%20ตอนหลักการทำงานและติดตั้ง%20Router%20ภายใต้%20Routing%20Protocol.htm หัวข้อปริมาณและขนาดความซับซ้อนของเครือข่าย *หมายเหตุ : ตารางสีฟ้า